Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
การปลูก ยางพารา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ปีนี้ 2553 นับเป็นปีที่แล้งจัดในรอบหลายปีที่ผ่านมา...อาจเป็นผลกระทบมาจากภาวะโลกร้อน ส่งผลกระทบต่อชาวสวนยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นอย่างมากครับ...ดังนั้น
สำหรับคนที่กำลังคิดจะปลูกยางพารา ในเขตนี้ ทั้งมือเก่าและมือใหม่ครับ
หยุดคิดและศึกษาสักนิดเถอะครับ จากรายงานของสถาบันวิจัยยางปี2550
ท่านจะได้ไม่เสี่ยงและมีโอกาสประสพผลสำเร็จได้ครับ
1. เป็นพื้นที่ที่ความลาดชันไม่เกิน 35 องศา ถ้าความลาดชันเกินกว่า 15 องศา จำเป็นต้องทำขั้นบันได
2. หน้าดินลึกไม่น้อยกว่า 1 เมตร มีการระบายน้ำดี ไม่มีชั้นหิน หรือชั้นดินดาน
3. ระดับน้ำใต้ดินต่ำกว่าระดับผิวดินมากกว่า 1 เมตร
4. เนื้อดินเป็นดินร่วนเหนียวถึงร่วนทราย ไม่เป็นดินเกลือหรือดินเค็ม
5. ไม่เป็นพื้นที่นาหรือที่ลุ่มน้ำขัง สีของดินควรมีสีสม่ำเสมอตลอดหน้าตัดดิน
6. ดินไม่มีชั้นกรวดอัดแน่นหรือแผ่นหินแข็งในระดับสูงกว่า 1 เมตร เพราะจะทำให้ต้นยางไม่สามารถใช้น้ำในระดับรากแขนงในฤดูแล้งได้ และหากช่วงแล้งยาวนานจะมีผลทำให้ต้นยางตายจากยอด
Last sa 30 - พื้นที่เหมาะสมสำหรับการปลูกยาง
7. ระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลไม่เกิน 600 เมตร หากสูงเกินกว่านี้อัตราการเจริญเติบโตของต้นยางจะลดลง
8. ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH)ระหว่าง 4.5-5.5 ไม่เป็นดินด่างปัจจัยทางภูมิอากาศ
1. ปริมาณน้ำฝนไม่น้อยกว่า 1,250 มิลลิเมตรต่อปี
2. มีจำนวนวันฝนตก 120-150 วันต่อปี
การปลูกยางในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร
ได้พิจารณาปัจจัยด้านภูมิอากาศ โดยเฉพาะด้านอุทกวิทยาเป็นเกณฑ์เบื้องต้น แล้วนำไปประเมินความ
เหมาะสมของพื้นที่ร่วมกับแผนที่ความเหมาะสมของดิน นำมาจัดแบ่งเขตภูมิอากาศสำหรับยางพาราตามสภาพภูมิอากาศของประเทศไทย 6 เขต คือ
เขตที่ 1 ปริมาณน้ำฝนต่ำกว่า 1,000 มิลลิเมตรต่อปี เป็นพื้นที่ที่ไม่แนะนำให้ปลูก ยางพารา
เขตที่ 2 ปริมาณน้ำฝนอยู่ระหว่าง 1,000-1,200 มิลลิเมตรต่อปี มีช่วงฤดูแล้งประมาณ 5 เดือนมีศักยภาพในการปลูกยางพาราต่ำ
เขตที่ 3 ปริมาณน้ำฝนอยู่ระหว่าง 1,200-1,400 มิลลิเมตรต่อปี มีช่วงฤดูแล้งประมาณ 3-4 เดือน
เป็นเขตที่เหมาะสมปานกลางสำหรับยางพารา การกระจายตัวของน้ำฝนเป็นปัจจัยสำคัญต่อผลผลิตยาง
เขตที่ 4 เป็นเขตที่เหมาะสมมากสำหรับยางพารา มีปริมาณน้ำฝนอยู่ระหว่าง 1,500-2,200
มิลลิเมตรต่อปี มีช่วงฤดูแล้งประมาณ 1-3 เดือน ปัจจัยด้านอุทกวิทยาไม่เป็นขีดจำกัด
เขตที่ 5 เป็นเขตที่มีปริมาณน้ำฝนสูงมาก ปริมาณน้ำฝนอยู่ระหว่าง 2,300-3,000 มิลลิเมตรต่อปี
ปริมาณน้ำฝนเป็นปัจจัยสำคัญที่เป็นขีดจำกัดต่อการเก็บเกี่ยวผลผลิตยาง
เขตที่ 6 เป็นเขตที่มีปริมาณน้ำฝนสูงมากเกินไป จนเป็นขีดจำกัดที่รุนแรงสำหรับยางพาราทั้งใน
ด้านโรคและการเก็บเกี่ยวผลผลิต
จากการขยายพื้นที่ปลูกยางตามโครงการปลูก ยางพารา เพื่อยกระดับรายได้และความมั่นคงให้แก่เกษตรกรในแหล่งปลูกยางใหม่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ จำนวน 1 ล้านไร่ แต่ความต้องการของเกษตรกรมีมากและมีความประสงค์ปลูกยางเอง ซึ่งบางพื้นที่อาจเป็นพื้นที่ที่ไม่เหมาะสมประกอบกับในช่วงปี 2546-2547 ประเทศไทยประสบปัญหาภัยแล้งอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้การปลูกยางในพื้นที่ไม่เหมาะสมดังกล่าว ทั้งสวนยางก่อนเปิดกรีดและสวนยางที่เปิดกรีดแล้วได้รับผลกระทบ ทำให้พื้นที่เหมาะสมสำหรับการปลูกยาง - 31ต้นยางยืนต้นตาย ซึ่งพบทั้งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ ดังนั้นสวนยางที่ปลูกในพื้นที่ไม่เหมาะสมเหล่านี้จำเป็นต้องมีการจัดการสวนยางอย่างถูกต้องจึงจะสามารถแก้ไขปัญหาได้ในระดับหนึ่งแต่เกษตรกรต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นอันเป็นการเพิ่มต้นทุน ซึ่งมีหลายวิธีการ ดังนี้
1. ปรับปรุงดินเพื่อเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดิน โดยการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก เพื่อช่วย
ให้โครงสร้างของดินดีขึ้น มีความร่วนซุย สามารถอุ้มน้ำและรักษาความชื้นในดินได้ดี
2. ดูแลรักษาสวนยางก่อนเข้าฤดูแล้ง โดยการใช้วัสดุคลุมดินรอบโคนต้นยางในช่วงอายุ 2 ปีแรก
หลังจากปลูก จะช่วยให้ดินเก็บรักษาความชื้นไว้ได้ในช่วงฤดูแล้ง และทาปูนขาวบริเวณลำต้นเพื่อป้องกันลำต้นไหม้จากแสงแดด
3. ใส่ปุ๋ยบำรุงต้นยางด้วยปุ๋ยเคมีร่วมปุ๋ยอินทรีย์ตามคำแนะนำเพื่อให้ต้นยางสมบูรณ์แข็งแรง
4. สวนยางที่เปิดกรีดแล้ว ไม่ควรไถพรวนในระหว่างแถวยาง
5. กรณีที่ปลูกยางในดินที่มีการระบายน้ำไม่ดี หรือเกิดน้ำท่วมขัง ควรขุดคูระบายน้ำก่อนที่ต้นยาง
จะได้รับความเสียหาย โดยปกติควรขุดคูระบายน้ำให้ระดับน้ำใต้ดินอยู่ลึกจากระดับผิวดินมากกว่า 2
เมตร ขึ้นอยู่กับระดับน้ำใต้ดิน
ต้นยางที่ปลูกในพื้นที่ไม่เหมาะสม จะมีผลทำให้เจริญเติบโตช้า ไม่ต้านทานโรคและผลผลิตต่ำ
และยังอาจมีผลกระทบตามมาจากภัยธรรมชาติได้อีกด้วย ดังนั้น ในการตัดสินใจปลูกยางพารา เกษตรกรควรพิจารณาหลักเกณฑ์สำหรับการปลูกยางพาราให้เหมาะสม เช่น การเลือกพื้นที่ปลูก พันธุ์ยางที่เหมาะสมกับพื้นที่ และการจัดการสวนยางที่ถูกต้อง เพื่อช่วยให้ต้นยางสมบูรณ์ แข็งแรง สามารถทนต่อภาวะที่เกิดขึ้นจากความแห้งแล้งและภัยธรรมชาติอื่นๆได้
ที่มา http://www.rubberthai.com
Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
เครื่องกลึง 5 ฟุต พร้อมใช้งาน
ราคา 140,000 บาท
เครื่องกลึง 5 ฟุต |
เครื่องกลึง 5 ฟุต |
อุปกรณ์ของเครื่อง |
Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
กระทรวงเกษตรฯ' ภายใต้ผลสำเร็จการประชุมสภาไตรภาคี ยางพารา - เกษตรทั่วไทย
การประชุมรัฐมนตรีสภาไตรภาคี ยางพารา (International TripartiteRubber
Council : ITRC) และบริษัทร่วมทุนยางพาราระหว่างประเทศ จำกัด (IRCo)
ซึ่งไทยเป็นเจ้าภาพจัดประชุมที่จังหวัดภูเก็ตเมื่อวันที่ 12
ธันวาคมที่ผ่านมาจบลงอย่างชื่นมื่นโดยได้ข้อสรุปที่จะปฏิบัติงานร่วมกันเป็น
ไปในทิศทางที่ดีและมีแนวโน้มสดใส
นอกจากจะได้แนวทางรักษาระดับราคา ยางพารา ไม่ให้ตกต่ำลงแล้ว
ยังมีแผนที่จะเพิ่มปริมาณการใช้ยางธรรมชาติมากขึ้นพร้อมเพิ่มมูลค่าสินค้า
อันจะนำไปสู่การสร้างเสถียรภาพราคายางในระยะยาว
นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่าวว่า ผลการประชุมสภาไตรภาคี ยางพารา ระดับรัฐมนตรีระหว่างประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และไทย มีความเกี่ยวเนื่องกับมาตรการที่ดำเนินการอยู่และมาตรการในอนาคต เบื้องต้นได้ข้อสรุปว่าภายในปี 2556 ให้ประเทศสมาชิกระดมทุนเพื่อใช้ขับเคลื่อนการดำเนินงานและบริหารจัดการ IRCo จำนวน 7.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็นสัดส่วนของไทยประมาณ 3.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ที่เหลือเป็นสัดส่วนของอินโดนีเซีย และมาเลเซีย
ขณะเดียวกันยังเห็นชอบให้ขยายเครือข่ายความร่วมมือด้านการผลิต การตลาดและอุตสาหกรรมยางพาราไปสู่ประเทศสมาชิกอาเซียน อาทิ เวียดนาม ลาว และกัมพูชา ซึ่งสนใจที่จะเข้าร่วมเครือข่าย ทั้งยังมุ่งผลักดันเครือข่ายสู่กรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือเออีซี (AEC) ด้วย นอกจากนี้ ยังเห็นชอบในแผนการจัดตั้งตลาด ยางพารา และเครื่อจักรเกี่ยวกับ เครื่องรีดยาง ของภูมิภาคอาเซียน (Regional Rubber Market) ซึ่งจะเป็นตัวแทนของผู้ขาย และมีการซื้อขายยางแบบส่งมอบจริงในราคาเป็นธรรม
อีกทั้งยังได้ประเมินผลว่าด้วยมาตรการจำกัดการส่งออกยาง เป้าหมาย 300,000 ตัน เพื่อลดปริมาณผลผลิตยางธรรมชาติออกสู่ตลาดตามข้อตกลงของ ITRC จากความร่วมมือของทั้ง 3 ประเทศ ที่ได้ดำเนินการมาแล้วในอดีต มีผลทำให้ราคายางพาราอยู่ได้ในระดับราคา 3 ดอลลาร์สหรัฐต่อกิโลกรัม สามารถช่วยพยุงราคายางไม่ให้ตกต่ำลงได้ โดยราคาซื้อขายภายในประเทศอยู่ที่ ประมาณ 75-85 บาทต่อกิโลกรัม ถ้าราคายางทรุดตัวลงอีก ทั้งไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ก็พร้อมประชุมระดับเจ้าหน้าที่เพื่อใช้มาตรการจำกัดโควตาส่งออกเพิ่มขึ้น เป็น 500,000-700,000 ตัน และมาตรการอื่นเพิ่มเติมเข้าไปอีก เพื่อแก้ไขปัญหาช่วยเหลือเกษตรกรของประเทศสมาชิก
นอกจากนั้น ที่ประชุมยังเห็นชอบในมาตรการส่งเสริมการใช้ยางธรรมชาติภายในประเทศเพิ่มมาก ขึ้นในแต่ละประเทศ ตามขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีของประเทศตน และรับที่จะมีการถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่างกันด้วย โดยไทยได้นำเสนอว่า ควรมีการส่งเสริมให้นำ ยางพารา มาผสมกับยางมะตอยในการทำถนนแทนการใช้ยางแอสฟัล ติกส์ ซึ่งจะทำให้ได้ถนนที่มีคุณภาพ มีความทนทาน และมีอายุการใช้งานยาวนานขึ้น สามารถช่วยประหยัดงบประมาณภาครัฐในการซ่อมบำรุงถนนได้ค่อนข้างมาก
อนาคตถ้ามีการทำถนน ยางพารา อย่างแพร่หลายทั้งในและต่างประเทศ คาดว่าจะช่วยเพิ่มปริมาณการใช้ยางธรรมชาติมากขึ้น ซึ่งจะช่วยพยุงและผลักดันราคายางให้ขยับตัวสูงขึ้น และส่งผลดีต่อเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราด้วย.
นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กล่าวว่า ผลการประชุมสภาไตรภาคี ยางพารา ระดับรัฐมนตรีระหว่างประเทศมาเลเซีย อินโดนีเซีย และไทย มีความเกี่ยวเนื่องกับมาตรการที่ดำเนินการอยู่และมาตรการในอนาคต เบื้องต้นได้ข้อสรุปว่าภายในปี 2556 ให้ประเทศสมาชิกระดมทุนเพื่อใช้ขับเคลื่อนการดำเนินงานและบริหารจัดการ IRCo จำนวน 7.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็นสัดส่วนของไทยประมาณ 3.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ ที่เหลือเป็นสัดส่วนของอินโดนีเซีย และมาเลเซีย
ขณะเดียวกันยังเห็นชอบให้ขยายเครือข่ายความร่วมมือด้านการผลิต การตลาดและอุตสาหกรรมยางพาราไปสู่ประเทศสมาชิกอาเซียน อาทิ เวียดนาม ลาว และกัมพูชา ซึ่งสนใจที่จะเข้าร่วมเครือข่าย ทั้งยังมุ่งผลักดันเครือข่ายสู่กรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือเออีซี (AEC) ด้วย นอกจากนี้ ยังเห็นชอบในแผนการจัดตั้งตลาด ยางพารา และเครื่อจักรเกี่ยวกับ เครื่องรีดยาง ของภูมิภาคอาเซียน (Regional Rubber Market) ซึ่งจะเป็นตัวแทนของผู้ขาย และมีการซื้อขายยางแบบส่งมอบจริงในราคาเป็นธรรม
อีกทั้งยังได้ประเมินผลว่าด้วยมาตรการจำกัดการส่งออกยาง เป้าหมาย 300,000 ตัน เพื่อลดปริมาณผลผลิตยางธรรมชาติออกสู่ตลาดตามข้อตกลงของ ITRC จากความร่วมมือของทั้ง 3 ประเทศ ที่ได้ดำเนินการมาแล้วในอดีต มีผลทำให้ราคายางพาราอยู่ได้ในระดับราคา 3 ดอลลาร์สหรัฐต่อกิโลกรัม สามารถช่วยพยุงราคายางไม่ให้ตกต่ำลงได้ โดยราคาซื้อขายภายในประเทศอยู่ที่ ประมาณ 75-85 บาทต่อกิโลกรัม ถ้าราคายางทรุดตัวลงอีก ทั้งไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ก็พร้อมประชุมระดับเจ้าหน้าที่เพื่อใช้มาตรการจำกัดโควตาส่งออกเพิ่มขึ้น เป็น 500,000-700,000 ตัน และมาตรการอื่นเพิ่มเติมเข้าไปอีก เพื่อแก้ไขปัญหาช่วยเหลือเกษตรกรของประเทศสมาชิก
นอกจากนั้น ที่ประชุมยังเห็นชอบในมาตรการส่งเสริมการใช้ยางธรรมชาติภายในประเทศเพิ่มมาก ขึ้นในแต่ละประเทศ ตามขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีของประเทศตน และรับที่จะมีการถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่างกันด้วย โดยไทยได้นำเสนอว่า ควรมีการส่งเสริมให้นำ ยางพารา มาผสมกับยางมะตอยในการทำถนนแทนการใช้ยางแอสฟัล ติกส์ ซึ่งจะทำให้ได้ถนนที่มีคุณภาพ มีความทนทาน และมีอายุการใช้งานยาวนานขึ้น สามารถช่วยประหยัดงบประมาณภาครัฐในการซ่อมบำรุงถนนได้ค่อนข้างมาก
อนาคตถ้ามีการทำถนน ยางพารา อย่างแพร่หลายทั้งในและต่างประเทศ คาดว่าจะช่วยเพิ่มปริมาณการใช้ยางธรรมชาติมากขึ้น ซึ่งจะช่วยพยุงและผลักดันราคายางให้ขยับตัวสูงขึ้น และส่งผลดีต่อเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราด้วย.
Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
สิ่งประดิษฐ์จากราชมงคล ( เครื่องรีดยางพารา ชนิดให้ความร้อนด้วยก๊าซหุงต้ม)
การพัฒนาศักยภาพการผลิต โดยเฉพาะอุปกรณ์ทางด้านการเกษตรเพื่อส่งเสริมให้เกิดการนำไปใช้ ได้จริง และเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรไทยคือ จุดมุ่งหมายหลักของนักศึกษาที่ศึกษาด้านเทคโนโลยีการเกษตร โดยการนำเอาความรู้ที่ได้เรียนมา มาประยุกต์ ปรับปรุงดัดแปลงเพื่อให้เกิดสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ อยู่เสมอ ล่าสุด เครื่องรีดยางพารา ชนิดให้ความร้อนโดยใช้ก๊าซหุงต้ม ผลงานของ สิรวิชญ์ อินวงศ์ และ สุทธิศักดิ์ วิจิตรสมบัติ นักศึกษาจากภาควิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวและแปรสภาพ คณะวิศวกรรมและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยมี อาจารย์มโน สุวรรณคำ เป็นที่ปรึกษา เป็นอีกสิ่งประดิษฐ์หนึ่งจากมันสมองของเด็กไทย ซึ่งในปัจจุบันนี้กระบวนการผลิตยางแผ่นจะมี 2 ขั้นตอน คือการรีดยาง และการตากแห้งหรือรมควัน ซึ่งในขั้นตอนการรีดยางนั้นได้มีการพัฒนาเครื่องรีดโดยใช้แหล่ง ความร้อนจากหลอดรังสีอินฟาเรดที่บรรจุอยู่ภายในลูกรีดช่วยลดความชื้น แผ่นยางพาราไปพร้อมๆ กัน การใช้แหล่งความร้อนจากไฟฟ้าก็ยังประสบปัญหา เจ้าของผลงานบอกว่า "โดยจุดมุ่งหมายหลักของเราคือ การแก้ปัญหาที่เกิดจากการรีดแผ่นยางแบบเดิมที่ใช้แหล่งความร้อน จากระบบไฟฟ้า ไม่ว่าจะเป็นการถ่ายเทความร้อนที่ไม่สม่ำเสมอของผิวลูกรีด ทำให้สิ้นเปลืองพลังงานและต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง ดังนั้น เราจึงได้ศึกษาและพัฒนาระบบการให้ความร้อนของต้นแบบเครื่องรีด ยางพาราชนิดให้ความร้อน โดยใช้ก๊าซหุงต้ม (LPG) เป็นแหล่งความร้อนแทนพลังงานจากไฟฟ้า
โดยตัว เครื่องรีดยาง ประกอบด้วยชุดลูกรีด 3 ชุด คือลูกรีดลดขนาด ลูกรีดกลมเกลี้ยง และลูกรีดขึ้นลาย มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 8.8 เซนติเมตร หน้ากว้าง 40 เซนติเมตร ขับเคลื่อนด้วยโซ่ พร้อมชุดเฟืองทด และมอเตอร์ ขนาด 1 แรงม้า ภายในลูกรีดแต่ละชุดจะบรรจุท่อก๊าซหุงต้มเพื่อให้ความร้อนกับผิวลูกรีด
จากการทดสอบความสามารถอัตราการรีดยางสูงสุดเท่ากับ 77.60 กิโลกรัม ต่อชั่วโมง และอัตราส่วนการระเหยน้ำสูงสุดเท่ากับ 0.40 กิโลกรัม ต่อกิโลกรัม อัตราการลดความชื้นเท่ากับ 18.58 กิโลกรัม ต่อชั่วโมง ค่าใช้จ่ายจะอยู่ประมาณ 0.13 บาท ต่อกิโลกรัม ซึ่งถือว่าผิวลูกรีดมีความร้อนสูงและสม่ำเสมอ สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่อง มีต้นทุนการใช้จ่ายไม่มากนัก และสามารถนำไปใช้ได้จริง
อย่างไรก็ตาม เจ้าของโปรเจคได้บอกว่า ในอนาคตจะต้องมีการปรับปรุงอีกบางประการ เช่น หน้ากว้างของลูกรีดสั้นเกินไป ทำให้แผ่นยางมีขนาดไม่ได้มาตรฐานและการเพิ่มขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ของลูกรีดเพื่อให้การเผาไหม้สมบูรณ์ และมีพื้นที่สัมผัสความร้อนเพิ่มขึ้น และการใช้ระบบเฟืองแทนโซ่ ส่งกำลังเพื่อให้ปรับระยะห่างลูกรีดให้เที่ยงตรงและมีความสะดวกขึ้น
ผู้ใดสนใจสามารถติดต่อสอบถามไปได้ที่ คณะวิศวกรรมและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
การพัฒนาศักยภาพการผลิต โดยเฉพาะอุปกรณ์ทางด้านการเกษตรเพื่อส่งเสริมให้เกิดการนำไปใช้ ได้จริง และเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรไทยคือ จุดมุ่งหมายหลักของนักศึกษาที่ศึกษาด้านเทคโนโลยีการเกษตร โดยการนำเอาความรู้ที่ได้เรียนมา มาประยุกต์ ปรับปรุงดัดแปลงเพื่อให้เกิดสิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ อยู่เสมอ ล่าสุด เครื่องรีดยางพารา ชนิดให้ความร้อนโดยใช้ก๊าซหุงต้ม ผลงานของ สิรวิชญ์ อินวงศ์ และ สุทธิศักดิ์ วิจิตรสมบัติ นักศึกษาจากภาควิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวและแปรสภาพ คณะวิศวกรรมและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยมี อาจารย์มโน สุวรรณคำ เป็นที่ปรึกษา เป็นอีกสิ่งประดิษฐ์หนึ่งจากมันสมองของเด็กไทย ซึ่งในปัจจุบันนี้กระบวนการผลิตยางแผ่นจะมี 2 ขั้นตอน คือการรีดยาง และการตากแห้งหรือรมควัน ซึ่งในขั้นตอนการรีดยางนั้นได้มีการพัฒนาเครื่องรีดโดยใช้แหล่ง ความร้อนจากหลอดรังสีอินฟาเรดที่บรรจุอยู่ภายในลูกรีดช่วยลดความชื้น แผ่นยางพาราไปพร้อมๆ กัน การใช้แหล่งความร้อนจากไฟฟ้าก็ยังประสบปัญหา เจ้าของผลงานบอกว่า "โดยจุดมุ่งหมายหลักของเราคือ การแก้ปัญหาที่เกิดจากการรีดแผ่นยางแบบเดิมที่ใช้แหล่งความร้อน จากระบบไฟฟ้า ไม่ว่าจะเป็นการถ่ายเทความร้อนที่ไม่สม่ำเสมอของผิวลูกรีด ทำให้สิ้นเปลืองพลังงานและต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง ดังนั้น เราจึงได้ศึกษาและพัฒนาระบบการให้ความร้อนของต้นแบบเครื่องรีด ยางพาราชนิดให้ความร้อน โดยใช้ก๊าซหุงต้ม (LPG) เป็นแหล่งความร้อนแทนพลังงานจากไฟฟ้า
โดยตัว เครื่องรีดยาง ประกอบด้วยชุดลูกรีด 3 ชุด คือลูกรีดลดขนาด ลูกรีดกลมเกลี้ยง และลูกรีดขึ้นลาย มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 8.8 เซนติเมตร หน้ากว้าง 40 เซนติเมตร ขับเคลื่อนด้วยโซ่ พร้อมชุดเฟืองทด และมอเตอร์ ขนาด 1 แรงม้า ภายในลูกรีดแต่ละชุดจะบรรจุท่อก๊าซหุงต้มเพื่อให้ความร้อนกับผิวลูกรีด
จากการทดสอบความสามารถอัตราการรีดยางสูงสุดเท่ากับ 77.60 กิโลกรัม ต่อชั่วโมง และอัตราส่วนการระเหยน้ำสูงสุดเท่ากับ 0.40 กิโลกรัม ต่อกิโลกรัม อัตราการลดความชื้นเท่ากับ 18.58 กิโลกรัม ต่อชั่วโมง ค่าใช้จ่ายจะอยู่ประมาณ 0.13 บาท ต่อกิโลกรัม ซึ่งถือว่าผิวลูกรีดมีความร้อนสูงและสม่ำเสมอ สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่อง มีต้นทุนการใช้จ่ายไม่มากนัก และสามารถนำไปใช้ได้จริง
อย่างไรก็ตาม เจ้าของโปรเจคได้บอกว่า ในอนาคตจะต้องมีการปรับปรุงอีกบางประการ เช่น หน้ากว้างของลูกรีดสั้นเกินไป ทำให้แผ่นยางมีขนาดไม่ได้มาตรฐานและการเพิ่มขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ของลูกรีดเพื่อให้การเผาไหม้สมบูรณ์ และมีพื้นที่สัมผัสความร้อนเพิ่มขึ้น และการใช้ระบบเฟืองแทนโซ่ ส่งกำลังเพื่อให้ปรับระยะห่างลูกรีดให้เที่ยงตรงและมีความสะดวกขึ้น
ผู้ใดสนใจสามารถติดต่อสอบถามไปได้ที่ คณะวิศวกรรมและเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
--กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม--
-พห-
Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
ครม.อนุมัติงบฯ 5 พันลบ.ให้ อสย.ใช้รักษาเสถียรภาพราคายาง
นพ.ทศพร เสรีรักษ์ โฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดเผยว่า ที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติอนุมัติการปรับปรุงระบบการบริหารโครงการพัฒนาศักยภาพสถาบันเกษตรกร เพื่อรักษาเสถียรภาพราคายาง ตามมติคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรี คณะที่ 3 (ฝ่ายเศรษฐกิจ) ซึ่งมีนายกิตติรัตน์ ณ ระนอง รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานฯ โดยอนุมัติให้องค์การสวนยางเบิกจ่ายเงินกู้จากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตรในวงเงิน 5,000 ล้านบาท (ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2555)
นอกจากนี้ ให้ยกเว้นการค้ำประกันเงินกู้ขององค์การสวนยางกับธานาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์ (ธ.ก.ส) เพื่อไม่ให้เป็นการซ้ำซ้อน เนื่องจากกระทรวงการคลังได้ค้ำประกันเงินกู้ระหว่าง ธ.ก.ส. กับสถาบันการเงินแหล่งเงินกู้แล้ว โดยมอบหมายให้องค์การสวนยาง ส่งรายงานผลการดำเนินงานตามโครงการพัฒนาศักยภาพสถาบันเกษตรกรเพื่อรักษา เสถียรภาพราคายาง (ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 18 กันยายน 2555) ให้คณะรัฐมนตรีประกอบการพิจารณาต่อไป
ที่มา : ประชาชาติธุรกิจ (24/01/56)
Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
ตัวอย่าง เครื่องรีดยางเครป , เครื่องรีดยางเครพ |
การซื้อยางก้อนถ้วยในการผลิตยางเครพ
การซื้อยางก้อนถ้วยในการผลิตยางเครพ
จะรับซื้อยางก้อนถ้วยจากชาวบ้านเดือนละ 2 ครั้ง ๆ ละประมาณ 23 ตัน ซึ่งแต่ละครั้งจะรับซื้อห่างกัน 15 วัน ยางก้อนจะกำหนดการซื้อไว้ที่ 6-8 มีด โดยจะรับซื้อให้ราคาสูงกว่าลานประมูลยางก้อนถ้วยประมาณ 0.50 - 1 บาท
การผลิตยางเครพด้วยยางก้อนถ้วย
ในการผลิตยางเครพด้วยยางก้อนถ้วยในแต่ละวัน จะได้ปริมาณมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับขนาดของเครื่องจักร หรือเครื่องรีดเครพ ซึ่งขนาดของเครื่องจักรของเกษตรกรรายนี้ที่ใช้อยู่เป็นเครื่องจักรขนาด 12 นิ้ว โดยกำลังการผลิตยางเครพในแต่ละวันได้ประมาณ 3 ตัน
ขั้นตอนการผลิตยางเครพ
ยางก้อนถ้วยที่ซื้อจากเกษตรกร จะบรรจุใส่ถุงมา น้ำหนักต่อถุงประมาณ 40 - 45 กิโลกรัม
ทำการกรีดถุงพลาสติกออก แล้วผ่าแบ่งเป็น 4 ส่วน ๆ ละประมาณ 10 กิโลกรัม ในการทำยางเครพแต่ละแผ่น
ใส่ยางก้อนถ้วยเข้า เครื่องรีดยางเครพ ประมาณ 10 กิโลกรัม การรีดเครพ จะรีดประมาณ 3-4 รอบ เพื่อให้ยางเครพหนาประมาณ 1 ซม. ส่วนความยาวจะใช้กรรไกร หรือมีดตัด ตามความเหมาะสม เพื่อให้ได้น้ำหนักต่อแผ่นเฉลี่ยประมาณ 6-8 กิโลกรัม
โดยใช้แรงงานจำนวน 4 คน/วัน จ่ายค่าจ้างเป็นรายวัน ๆ ละ 250 บาท
เมื่อรีดเครพแล้ว จะเอาไปตากกับราวไม้ ที่มีแสงแดดร่ำไร หรือผึ่งลมไว้ประมาณ 7 วัน แล้วค่อยเก็บไว้ในโรงเก็บ พร้อมส่งขายต่อไป
เปรียบเทียบยางก้อนถ้วย กับ ยางเครพ
ยางก้อนถ้วยคุณภาพดี เมื่อนำมาเครพแล้วน้ำหนักจะลดลง หรือหายไปประมาณ 20 - 30% เช่น น้ำหนักยาง ก้อนถ้วย 100 กิโลกรัม เมื่อทำเครพแล้วผึ่งไว้ 7 วัน น้ำหนัก จะหายไปเหลือประมาณ 70 - 80 กิโลกรัม
สาเหตุที่น้ำหนักหายไป มากหรือน้อยจะขึ่นอยู่กับคุณภาพของยางก้อนถ้วย กรีดต่ำกว่า 6-8 มีด หรือมีสิ่งปลอมปนในเนื้อยาง และส่วนผสมน้ำกรดกับน้ำ ไม่ได้อัตราส่วนทำให้ยางก้อนจับตัวกันไม่ดี
ราคา ยางก้อนถ้วย ณ วันที่สอบถามข้อมูล รับซื้อราคากิโลกรัมละ 42.50 บาท และเมื่อนำไปเครพ แล้วขายจะได้ประมาณกิโลกรัมละ 61-62 บาท
เมื่อเครพแล้วไปขายที่ไหน
ปัจจุบัน เกษตรกรที่ทำยางเครพ จะนำไปขายให้โรงงานที่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เดือนละ 2 ครั้ง ๆ ประมาณ 15 ตัน โดยมีค่าขนส่งกิโลกรัมละ 2 บาท
เร็วๆ นี้ สถาบันวิจัยยางจะดำเนินการจัดมาตรฐานยางเครพจากยางก้อนถ้วย พร้อมเปิดตลาดประมูลยางเครพจากยางก้อนถ้วย ณ สำนักงานตลาดกลางยางพาราหนองคาย เพื่อเป็นทางเลือกให้เกษตรกร
ปัญหาที่เกษตรอยากให้ภาครัฐช่วยเหลือ
แหล่งรับซื้อหรือตลาดใกล้บ้าน
สนับสนุนให้มีแหล่งเงินทุนกู้ยืมหมุนเวียน
แนะนำระบบการจัดการน้ำเสีย จากการทำยางเครพ ไม่ให้เกิดมลภาวะและกลิ่นเหม็น
Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
กระแสการบอกกล่าวเล่าต่อของชาวสวนยางพารา นายทุน หรือแม้กระทั่งนักธุรกิจส่งออกระดับนานาชาติต้องหันเหมาส่งออกยางแปรรูปแบบ หยาบๆ แต่สามารถสร้างมูลค่าได้ใกล้เคียงกับยางแผ่นเรียบเลยก็ว่าได้ แต่ก็ยังมีหลายๆ คนคิดว่า ยางเครพ เป็นยางคุณภาพต่ำ…
แต่ลืมนึกไปว่า ยางเครพ มีหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความบริสุทธิ์ของยางที่นำมาผ่านเครื่องทำยางเครพ เช่น ถ้าหากว่าเรานำขี้ยาง ยางาก้อน ที่มีคุณภาพดี หรือ มีความบริสุทธิ์ โอกาสที่เราจะได้ยางเครพที่มีเปอร์เซนต์ยางสูงขึ้นก็มี และที่สำคัญการตีราคาของนักลงทุน หรือ บริษัทส่งออกก็ยึดเปอร์เซนต์ยางเป็นตัวตั้งทั้งนั้น…
ข้อจำกัดอยู่ที่ ชาวสวนยางรายย่อย ไม่กล้าที่จะลงทุนซื้อเครื่องรีดยางเครพ ราคาเริ่มต้นที่ 190,000 บาท ถ้าเป็นเครื่องรีดยางเครพใหม่ราคาจะเริ่มต้นที่ 500,000 บาท แต่ถ้าเราจะนำยาง หรือ ขี้ยาง เราไปทำยางเครพในพื้นที่จังหวัดบึงกาฬเรา…อยู่ที่ อ.ศรีวิไล จ.บึงกาฬ
ถ้าจำไม่ผิดน่าจะเป็น อบต.นาสิงห์ นะครับ…ใครที่สนใจลองๆ เอาขี้ยางไปลองทำแล้วจำหน่ายดูครับ…ว่าราคาจะได้เยอะกว่าขายขี้ยางปกติหรือ ไม่…ลองๆ ดูสัก 20 กิโลกรัมก็ได้…ผมเองก็อยากรู้เหมือนกันว่าจะได้กำไรดีกว่าเดิมหรือเปล่า
Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
ยางเครพ (Crepe Rubber) เป็นยางที่ได้จากการนำเศษยางไปรีดด้วยเครื่องรีดยางสองลูกกลิ้ง โดยทั่วไปเรียกว่าเครื่องเครพ จะมีการใช้น้ำในการทำความสะอาดในระหว่างการรีด เพื่อนำสิ่งสกปรกออกจากยางในขณะรีดยาง เนื่องจากยางที่ใช้โดยมากเป็นยางที่มีมูลค่าต่ำมีสิ่งสกปรกเจือปนค่อนข้าง มาก เช่น น้ำยางสกิม เศษยางก้นถ้วย เศษยางที่ติดบนเปลือกไม้หรือติดบนดิน และเศษยางที่ได้จากการผลิตยางแผ่นรมควัน เป็นต้น หลังจากรีดในเครื่องเครพแล้วจะนำยางไปผึ่งแห้ง หรืออบแห้งด้วยลมร้อน ยางเครพที่ได้จะมีสีค่อนข้างเข้ม และมีหลายรูปแบบ เช่น ยาง Brown crepe, Flat bark crepe , Skim crepe และ Blanket crepe เป็นต้น ทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับความบริสุทธิ์และชนิดของวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต ส่วนยางเครพขาวเป็นยางเครฟที่ได้มาจากน้ำยาง ที่มีการกำจัดสารเกิดสีในน้ำยางคือ สารบีตา-แคโรทีน ซึ่งมีสีเหลืองอ่อน โดยการฟอกสียางให้มีสีขาวด้วยสารเคมี เช่น xylyl mercaptane (0.05 wt%) หรือ totyl mercaptan (0.05 wt%) และ sodium bisulfide (0.5-0.75 wt%) ก่อนการทำให้ยางจับตัวกันเป็นก้อนด้วยกรด ยางเครพขาวเป็นยางที่มีคุณภาพและราคาค่อนข้างสูง
ที่มา : http://th.wikipedia.org
Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
ข่าววันนี้ : เครื่องรีดยาง , เครื่องรีดยางพารา
นครศรีธรรมราช/ เมื่อเร็วๆ นี้ นายยุทธพงศ์ จรัสเสถียร รัฐมนตรีช่วยว่าการเกษตรและสหกรณ์ เดินทางไปยังจังหวัดนครศรีธรรมราชเพื่อมอบนโยบายและตรวจเยี่ยมองค์การสวนยาง สำนักงานใหญ่ ที่ อ.ช้างกลาง จ.นครศรีธรรมราช มีนายวิโรจน์ จิวะรังสรรค์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช นายทรงพล สวาสดิ์ธรรม รองผู้ว่าราชการจังหวัด นายชนะชัย เปล่งศิริวัธน์ ผู้อำนวยการสวนยางและคณะร่วมให้การต้อนรับ
นายยุทธพงศ์ กล่าวว่า องค์การสวนยาง (อ.ส.ย.) เป็นรัฐวิสาหกิจแห่งที่สองที่ตนเดินทางไปมอบนโยบาย จึงขอเน้นย้ำให้ดำเนินงานตามโครงการพระราชดำริที่ อ.ส.ย.รับผิดชอบให้เต็มกำลังความสามารถเพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว และขอให้ดำเนินงานตามนโยบายของรัฐบาลให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดรวมทั้งสรุป ปัญหาอุปสรรคต่างๆ เพื่อนำสู่การแก้ไขโดยในปี 2556 ตนอยากให้ อ.ส.ย.มีกำไรสูงรายได้เข้ารัฐมากกว่าประมาณการที่ตั้งไว้ เนื่องจากมีที่ดินที่ได้รับอนุญาตจากกรมป่าไม้ถึง 41,000 ไร่ มีโรงงานมีสวนยางเป็นของตัวเองซึ่งสามารถแข่งขันกับเอกชนได้ ส่วนปัญหาโกดังเก็บยางให้ อ.ส.ย.ดำเนินการให้เสร็จเรียบร้อยภายในวันที่ 20 มกราคมนี้ สำหรับการดำเนินการในช่วงต่อไป ให้หาโกดังที่มีความมั่นคงแข็งแรงน่าเชื่อถือคือหลังคาไม่รั่วมี รปภ. มีพาเลส และมีประกันภัยมาพร้อมกับโกดังด้วย สำหรับโกดังเก็บยางพาราที่ถูกไฟไหม้ส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่นนั้น ต่อไปผู้รับผิดชอบต้องหาทางป้องกันอย่าให้เกิดเหตุการณขึ้นอีก เพราะเมื่อเกิดขึ้นแล้วจะส่งผลเสียต่อรัฐบาลและกระทบต่อความเชื่อมั่น
อย่างไรก็ตาม ตนในฐานะประธานบริหารโครงการรักษาเสถียรภาพราคายางจะมีการประชุมติดตามความ คืบหน้าทุกวันพุธ พร้อมได้มอบอำนาจให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจเช่นเดียวกับตนทุกประการ สำหรับข้อร้องเรียนที่มีการนำยางพารามาสวมสิทธิ์เข้าร่วมโครงการรักษา เสถียรภาพราคายาง จนมีการนำไปอภิปรายในสภานั้น ตนได้ส่งเรื่องให้กรมสอบสวนคดีพิเศษไปตรวจสอบแล้ว เพราะโครงการนี้รัฐบาลมีเป้าหมายเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อย
นายยุทธพงศ์ กล่าวต่อว่า ส่วนของโครงการรักษาเสถียรภาพราคายางพาราที่รัฐบาลค้างจ่ายให้สถาบันเกษตรกร จำนวน 2,300 ล้านบาทนั้น ขณะนี้ได้เสนอเข้าคณะรัฐมนตรี (ครม.) แล้วแต่ที่ช้าติดอยู่ที่กระทรวงการคลังในเรื่องของสัญญาค้ำประกันเนื่องจาก วงเงินไปผูกกับพืชผลทางการเกษตรอื่นๆ เช่น ข้าว ปาล์มน้ำมัน มันสำปะหลัง เวลาเข้า ครม.ต้องเข้าเป็นแพ็กเกจจึงทำให้ล่าช้า ซึ่งขอยืนยันว่าโครงการนี้รัฐบาลเดินหน้าต่อแน่นอนและตนมั่นใจว่าราคา ยางพาราในปีนี้จะถึง 3 หลักเพราะความ ต้องการภายในประเทศมีมากขึ้น ราคาน้ำมันสูงขึ้น และเศรษฐกิจโลกดีขึ้นทำให้ประเทศต่างๆ นำเข้ายางพารามากขึ้นด้วย นอกจากนี้ผลผลิตยางพาราที่คาดการณ์ว่ามีประมาณ 3.2 ล้านตันแต่ตัวเลขลดลง 10 เปอร์เซ็นต์ โดยเฉพาะภาคใต้เนื่องจากฝนตกหนัก
นายยุทธพงศ์ ยังกล่าวถึงการก่อสร้างโรงงานแปรรูปไม้ยางพาราที่ ต.กรุงหยัน อ.ทุ่งใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช ว่าสัญญาครบกำหนดมาตั้งแต่เดือน ก.พ.55 แล้วแต่การก่อสร้างยังไม่แล้วเสร็จซึ่งตนได้กำชับให้ดำเนินการให้เรียบร้อย ภายในเดือน ก.พ.56 โดยตนจะเดินทางมาเปิดโรงงานด้วยตัวเอง
ที่มา : หนังสือพิมพ์บ้านเมือง (18/01/2556)
Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
เครื่องรีดยางพารา
Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
ข่าววันนี้ : เครื่องรีดยาง , เครื่องรีดยางพารา
หลังจากเตรียมพื้นที่เสร็จแล้ว ในกรณีที่เป็นที่ราบจะต้องวางแผนการใช้พื้นที่ก่อนว่า จะวางแนวปลูก ตัดถนน และระบายน้ำอย่างไร ทั้งนี้เพื่อการวางแผน สำหรับการแบ่งแปลงกรีดที่จะมีขึ้นในระยะเปิดกรีด เพื่อความสะดวกในการกรีด การรวบรวมผลผลิต การดูแลรักษาและอื่นๆ ในกรณีที่เป็นที่พื้นที่ลาดเทจะต้องดำเนินการในเรื่องการจัดทำขั้นบันได
การวางแนวปลูก
การวางแนว (Lining) เป็นการกำหนดว่าจะวางแถวปลูกยางไปในทิศทางใด ทั้งนี้เพื่อลดความเสียหายที่เกิดขึ้นกับต้นยาง ป้องกันการชะล้างผิวหน้าดิน และความสะดวกทั้งในการกรีด และการเก็บผลผลิต
ปัจจัยที่ควรคำนึงในการวางแนวปลูก
ความลาดเทของพื้นที่ พื้นที่ เป็นปัจจัยหลัก ที่เกี่ยวข้องกับการชะล้าง การกัดเซาะผิวหน้าดิน การพัดพาปุ๋ยที่ใส่ให้แก่ต้นยางออกไปจากพื้นที่ อันเนื่องจากฝนทั้งนี้เพราะถ้าพื้นที่ลาดเท และวางแถวงยางไม่ถูกต้องแ้ล้ว จะทำให้เกิดทางระบายน้ำขึ้น ในแถวยางโดยอัตโนมัติ เมื่อทำการกำจัดวัชพืชในแถวยางโดยการขุดรากจะเกิดเป็นร่องขึ้น ทำให้น้ำไหลออกจากแปลงได้อย่างรวดเร็ว ในการนี้จะเกิดการกัดกร่อนเป็นร่องน้ำลึกๆ ได้
ความรุนแรงของกระแสลม เป็นปัจจัยหนึ่งที่ก่อให้เกิดความเสีย หายอย่างมากต่อต้นยาง เพราะอาจทำให้กิ่ง ก้านฉีกขาด จนกระทั่งถึงขั้นต้นยางล้มได้ ฉะนั้นในเขตที่มีกระแสลมรุนแรงมาก ๆ ควรปลูกพืชอื่นที่เจริญเติบโตเร็ว เป็นพืชกำบังลมก่อนที่จะลงมือปลูกยาง แต่ในเขตภาคใต้ของประเทศพบว่ากระแสลมตามปกติไม่รุนแรงมากจนถึงขั้นนี้ นอกจากกรณีเกิดพายุหมุนเป็นครั้งคราว
ที่มา : http://www.yangpara.com
Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
ข่าววันนี้ : เครื่องรีดยาง , เครื่องรีดยางพารา
การปลูกสร้างสวนยางจึงควรคำนึงถึงสภาพดินที่เหมาะสมดังนี้
• หน้าดินลึกไม่น้อยกว่า 1.5 ม. และไม่มีชั้นดินดานหรือชั้นดินแข็งหรือเป็นดินลูกรัง
• ระดับนํ้าใต้ดินไม่ควรสูงเกิน 1 ม.
• มีการระบายนํ้าดีพอเหมาะไม่ไหลซึมเร็วจนเกินไป มีจุดประจุได้ในชั้น C หรือลึกกว่า 1 ม.
• โครงสร้างของดินดี มีความร่วนเหนียวพอเหมาะคือ มีอนุภาคดินเหนียวประมาณ 35% เพื่อเก็บความชื้นและธาตุอาหาร มีอนุภาคดินทรายประมาณ 3O% เพื่อการะบายนํ้าและอากาศ
• ความเป็นด่างเป็นกรด(pH)ของดินควรอยู่ระหว่าง 4-5.5 แต่พบว่ายางพาราทนสภาพกรดจัดได้ถึง 3.8และสภาพด่างจัดได้ถึง 8.O สำหรับความลาดเทของพื้นที่(Slope) ถ้าลาดเทเกิน 15 ํ แนะนำให้ปลูกโดยจัดทำขั้นบันได(Terrace)ตามแนวระดับ
ที่มา : http://www.yangpara.com
Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
ข่าววันนี้ : เครื่องรีดยาง , เครื่องรีดยางพารา
สรุปสถานการณ์ราคายาง วันที่ 7 - 11 มกราคม 2556
และแนวโน้มราคายาง วันที่ 14 - 18 มกราคม 2556
สรุปสถานการณ์ราคายาง วันที่ 7 - 11 มกราคม 2556
- ราคา FOB กรุงเทพฯ/ ตลาดล่วงหน้าสิงคโปร์(SICOM)/ ตลาดล่วงหน้าโตเกียว(TOCOM) ยางแผ่นรมควัน ชั้น 3(อัดก้อน) ส่งมอบเดือนมีนาคม 2556 มีราคาเฉลี่ยที่กิโลกรัมละ 102.55, 101.17 และ 101.91 บาท สูงสุดที่ 103.15(ศุกร์ที่ 11), 102.02(พฤหัสบดีที่ 10) และ 103.22(พฤหัสบดีที่ 10) บาท/กก. โดยรวมราคาเฉลี่ยทั้งสัปดาห์เปลี่ยนแปลงจากราคาเฉลี่ยสัปดาห์ก่อนกิโลกรัมละ +1.25, -1.67 และ -0.19 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.23, 1.62, 0.19 ตามลำดับ
- ราคา FOB กรุงเทพฯ/ ตลาดล่วงหน้าสิงคโปร์(SICOM)/ ตลาดล่วงหน้าโตเกียว(TOCOM) ยางแผ่นรมควัน ชั้น 3(อัดก้อน) ส่งมอบเดือนมีนาคม 2556 มีราคาเฉลี่ยที่กิโลกรัมละ 102.55, 101.17 และ 101.91 บาท สูงสุดที่ 103.15(ศุกร์ที่ 11), 102.02(พฤหัสบดีที่ 10) และ 103.22(พฤหัสบดีที่ 10) บาท/กก. โดยรวมราคาเฉลี่ยทั้งสัปดาห์เปลี่ยนแปลงจากราคาเฉลี่ยสัปดาห์ก่อนกิโลกรัมละ +1.25, -1.67 และ -0.19 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.23, 1.62, 0.19 ตามลำดับ
-
ตลาดซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย(AFET) ยางแผ่นรมควันชั้น 3
(อัดก้อน) ส่งมอบเดือนมีนาคม 2556 มีราคาเฉลี่ยที่กิโลกรัมละ 101.56 บาท
สูงสุดที่ 102.10 บาท/กก.เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 10 โดยรวมราคาเฉลี่ย
ทั้งสัปดาห์ลดลงจากราคาเฉลี่ยสัปดาห์ก่อนกิโลกรัมละ -0.76 บาท คิดเป็นร้อยละ 0.74
- ตลาดกลางยางพาราสงขลา/ สุราษฎร์ธานี/ นครศรีธรรมราช ยางแผ่นดิบคุณภาพ 3 มีราคาเฉลี่ยที่กิโลกรัมละ 88.02, 88.63 และ 88.59 บาท สูงสุดที่ 89.21, 90.29 และ 90.29 บาท/กก. เมื่อวันศุกร์ที่ 11 ราคาปรับตัวสูงขึ้น โดยราคาเฉลี่ยทั้งสัปดาห์สูงขึ้นจากราคาเฉลี่ยสัปดาห์ก่อนกิโลกรัมละ +1.49, +1.52 และ +1.64 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.73, 1.74 และ 1.88 ตามลำดับ
- ตลาดกลางยางพาราสงขลา ยางแผ่นรมควันชั้น 3(ไม่อัดก้อน) มีราคาเฉลี่ยที่กิโลกรัมละ 91.08 บาท สูงสุดที่ 91.91 บาท/กก.เมื่อวันศุกร์ที่ 11 ราคาปรับตัวสูงขึ้น โดยราคาเฉลี่ยทั้งสัปดาห์สูงขึ้นจากราคาเฉลี่ยสัปดาห์ก่อนกิโลกรัมละ +0.97 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.08 ส่วนน้ำยางสดไม่มีการประมูล ซื้อ-ขาย ตลอดสัปดาห์ (ตั้งแต่วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2555)
- ตลาดกลางยางพาราสงขลา/ สุราษฎร์ธานี/ นครศรีธรรมราช ยางแผ่นดิบคุณภาพ 3 มีราคาเฉลี่ยที่กิโลกรัมละ 88.02, 88.63 และ 88.59 บาท สูงสุดที่ 89.21, 90.29 และ 90.29 บาท/กก. เมื่อวันศุกร์ที่ 11 ราคาปรับตัวสูงขึ้น โดยราคาเฉลี่ยทั้งสัปดาห์สูงขึ้นจากราคาเฉลี่ยสัปดาห์ก่อนกิโลกรัมละ +1.49, +1.52 และ +1.64 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.73, 1.74 และ 1.88 ตามลำดับ
- ตลาดกลางยางพาราสงขลา ยางแผ่นรมควันชั้น 3(ไม่อัดก้อน) มีราคาเฉลี่ยที่กิโลกรัมละ 91.08 บาท สูงสุดที่ 91.91 บาท/กก.เมื่อวันศุกร์ที่ 11 ราคาปรับตัวสูงขึ้น โดยราคาเฉลี่ยทั้งสัปดาห์สูงขึ้นจากราคาเฉลี่ยสัปดาห์ก่อนกิโลกรัมละ +0.97 บาท คิดเป็นร้อยละ 1.08 ส่วนน้ำยางสดไม่มีการประมูล ซื้อ-ขาย ตลอดสัปดาห์ (ตั้งแต่วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2555)
วันที่
|
U3 หาดใหญ่
|
U3 สุราษฎร์ฯ
|
U3 นครศรีฯ
|
S3 หาดใหญ่
|
La หาดใหญ่
|
R3 (F.O.B.กรุงเทพฯ)
|
R3 (AFET)
|
2
|
85.80
|
85.85
|
86.29
|
89.22
|
-
|
100.05
|
102.65
|
3
|
86.88
|
86.89
|
86.69
|
90.20
|
-
|
101.30
|
102.80
|
4
|
86.89
|
88.59
|
87.89
|
90.90
|
-
|
102.55
|
101.50
|
เฉลี่ย
|
86.52
|
87.11
|
86.96
|
90.11
|
-
|
101.30
|
102.32
|
7
|
87.39
|
88.79
|
88.39
|
91.11
|
-
|
102.80
|
101.00
|
8
|
87.29
|
87.39
|
87.49
|
90.19
|
-
|
101.80
|
101.20
|
9
|
87.39
|
87.88
|
87.92
|
90.59
|
-
|
102.00
|
101.50
|
10
|
88.80
|
88.80
|
88.88
|
91.60
|
-
|
103.00
|
102.10
|
11
|
89.21
|
90.29
|
90.29
|
91.91
|
-
|
103.15
|
102.00
|
เฉลี่ย
|
88.02
|
88.63
|
88.59
|
91.08
|
-
|
102.55
|
101.56
|
+/-
|
1.49
|
1.52
|
1.64
|
0.97
|
-
|
1.25
|
-0.76
|
%
|
1.73
|
1.74
|
1.88
|
1.08
|
-
|
1.23
|
-0.74
|
วิเคราะห์สถานการณ์
ราคายาง ณ ตลาดกลางยางพาราสงขลา ช่วงวันที่ 7 - 11 มกราคม 2556 ราคาปรับตัวสูงขึ้นทั้งยางแผ่นดิบและยางแผ่นรมควัน เนื่องจาก
ราคายาง ณ ตลาดกลางยางพาราสงขลา ช่วงวันที่ 7 - 11 มกราคม 2556 ราคาปรับตัวสูงขึ้นทั้งยางแผ่นดิบและยางแผ่นรมควัน เนื่องจาก
-
ปัจจัยภายนอกเอื้อต่อตลาดและราคายาง
โดยเฉพาะราคาตลาดล่วงหน้าโตเกียวปรับตัวสูงขึ้นแตะระดับสูงสุดในรอบ 8 เดือน
จากการที่เงินเยนกลับมาอ่อนค่าแตะระดับสูงสุดในรอบ 2 ปีครึ่ง
เป็นผลมาจากการคาดการณ์ว่า ธนาคารกลางญี่ปุ่น (BOJ)
จะใช้มาตรการผ่อนคลายทางการเงินเพิ่มเติม
ประกอบกับนักลงทุนมีมุมมองเป็นบวกต่อ เศรษฐกิจสหรัฐฯ
หลังจากรายงานผลประกอบการภาคเอกชนออกมาดีเกินคาด
รวมทั้งผู้ประกอบการในจีนจะเร่ง
ซื้อยางเพื่อเก็บสต๊อคก่อนเข้าช่วงหยุดยาวในเทศกาลตรุษจีนประมาณเดือน
กุมภาพันธ์ ขณะที่แหล่งปลูกยางของไทย กำลังเข้าสู่ฤดูยางผลัดใบ
แนวโน้มราคายาง วันที่ 14 - 18 มกราคม 2556
ราคายาง ณ ตลาดกลางยางพาราสงขลา ช่วงวันที่ 14 - 18 มกราคม 2556 มีแนวโน้มลดลง เนื่องจาก
ราคายาง ณ ตลาดกลางยางพาราสงขลา ช่วงวันที่ 14 - 18 มกราคม 2556 มีแนวโน้มลดลง เนื่องจาก
- ปรับตัวลดลงตามตลาดหุ้นและราคาน้ำมัน
ประกอบกับได้รับแรงกดดันจากเงินเยนแข็งค่าขึ้น หลังจากรัฐมนตรี
การคลังของญี่ปุ่นแสดงความวิตกว่าเงินเยนยังอยู่ในภาวะอ่อนค่าเกินไป
รวมทั้งความกังวลเกี่ยวกับการเจรจาปรับเพิ่ม เพดานหนี้ของสหรัฐฯ
อาจไม่ราบรื่น ส่งผลให้นักลงทุนเทขายทำกำไร
หลังจากราคาสูงขึ้นแตะระดับสูงสุดในรอบ 9 เดือน
นอกจากนี้การที่เงินบาทแข็งค่าสุดในรอบ 15 เดือน อาจส่งผลกระทบต่อผู้ส่งออก
อย่างไรก็ตาม
ราคายางยังมีปัจจัยสนับสนุนจากภาคใต้ของไทยใกล้ถึงฤดูยางผลัดใบ
อาจมีการเร่งซื้อเพื่อเก็บสต๊อค
ที่มา : http://www.rubber.co.th/web/rubberprice_2a.html
Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
ข่าววันนี้ : เครื่องรีดยาง , เครื่องรีดยางพารา
The choice to buy Land for Rubber
ข้อพิจารณาในการเลือกซื้อที่ดินทำสวนยางพารา
ในหนึ่งครอบครัวหรือหนึ่งชีวิตของคนเราสามารถสร้างสวนยางได้เพียง 1-2 ครั้งเท่านั้น เพราะสวนยางพารามีอายุเฉลี่ยประมาณ 30 ปี กว่าจะเก็บเงินมาซื้อที่ดินทำสวนยางได้
ด้วยตนเองอายุโดยเฉลี่ยอายุประมาณ 35-45 ปี และสวนยางก็จะหมดอายุขัยเอาตอนเจ้าของ
สวนยางอายุ 65-75 ปี ต่อจากนั้นอยากจะทำสวนอีกสักครั้งก็คงเบื่อหรือไม่มีแรงก็ได้
ด้วยเหตุนี้ สิ่งที่สำคัญ คือต้อง สวนยางพาราแบบมืออาชีพเท่านั้น ทางweb master ได้เล็งเห็นความสำคัญในการเรียนรู้การสร้างสวนยางพาราจึงจะนำบทความใหม่ๆ
ที่เขียนจากความรู้และประสบการณ์มาเป็นแนวทางในการตัดสินใจสำหรับผู้ที่กำลังเลือกและ
สนใจเป็นเจ้าของสวนยางพาราในอนาคต เพื่อให้ได้ผลประโยชน์มากที่สุด ไม่ใช่กรีดได้แค่ 3-5 ปี ต้นยางก็ตายเสียแล้วหากคิดจะกลับมาปลูกใหม่ก็คงจะกำลังวังชาพอเนื่องจากอายุมากแล้วและสายเกินแก้ ดังนั้นก่อนที่จะปลูกสร้างสวนยางพาราจะต้องศึกษาข้อมูลให้ถี่ถ้วนเสียก่อน แล้วจึงตัดสินใจ เพราะการปลูกสร้างสวนยางพารานั้นจะต้องลงแรง และกำลังทรัพย์เป็นจำนวนมาก ด้วยเหตุนี้เองดิฉันจึงมีความมุ่งมั่นที่จะให้บุคคลใดก็ตามที่กำลังจะตัดสิน ใจปลูกสร้างสวนยางพารา
จะต้องเข้าใจในเบื้องต้นเสียก่อนว่ามิใช่เรื่องง่ายหรือยาก บ้างครั้งเห็นคนรอบข้างปลูกยางพาราก็อยากจะปลูกยางพาราตามเขาด้วยหรือ ฮิต ตามเป็นช่วงๆ ยั่งกับแฟชั่นซึ่งการตัดสินใจดังกล่าวตามคนอื่นหรือคนรอบข้างอาจจะผิดพลาด อย่างใหญ่หลวงทั้งชีวิต
ฉะนั้นดิฉันจึงให้ท่านที่กำลังตัดสินใจศึกษาให้ละเอียดรอบคอบจากข้อมูล หลายแหล่งข้อมูล
ดังนั้นการสร้างสวนยางก็คงไม่ยากและง่ายเพราะไม่ต้องใช้เทคโนโลยี่สูง เพียงหมั่นเอาใจใส่ก็พอ ที่เห็นจะยากก็ตรงที่จะประคับประคองดูแลสวนยางพารา
ให้มีอายุยาวถึง 30 ปี โดยให้ผลผลิตอย่างต่อเนื่องเพราะปัจจุบันเรื่องภัยธรรมชาติ
หรือสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงค่อนข้างเร็ว เช่น วิกฤตน้ำท่วม ในภาคเหนือ แผ่นดินเคลื่อนตัว หรือเหตุการณ์ต่างๆ ในเร็วๆ นี้ (พ.ศ.2549) บางทีไม่เคยมีน้ำท่วมแต่พอ 3-5 ปีต่อมากลายเป็นที่น้ำท่วมขัง เดิมเป็นป่าอยู่แท้ๆ ต่อมากลายเป็นที่พักผ่อน รีสอร์ท ของคนมีเงิน.... เพราะฉนั้นก่อนจะซื้อที่ดินปลูกสร้างสวนยางจะต้องคำนึงถึงปัจจัยหลายๆ อย่าง
ข้อแนะนำในการซื้อที่ดินที่ไม่เหมาะในการปลูกสร้างสวนยาง
1. ที่ดินริมถนนใหญ่ (Roadside Land) เนื่องจากถนนยิ่งถมใหญ่สูงเท่าไร ริมถนนนั้นก็ิย่งถูกน้ำท่วมขังง่ายขึ้นเท่านั้น เพราะถ้าน้ำท่วมขังก็กรีดยางไม่ได้.
2. ที่ดินใกล้แหล่งชุมชน (Community) ด้วยปัจจุบันชุมชนขยายตัวเร็วมาก เห็นได้จากการถมที่สร้างที่พักอาศัยหรืออื่นๆ ซึ่งในบ้างครั้งก็จะถมทางน้ำธรรมชาติเข้าไปด้วย จากนั้นไม่นานก็เกิดน้ำท่วมขังแปลงที่อยู่ข้างๆ บางทีขังเฉพาะเวลาฝนตก หรือตลอดทั้งปี รากแช่คงเน่าแน่นอน.
3. ที่ดินใกล้แหล่งโรงงาน (The Land closed to the Factory) ซึ่งโรงงานบางแห่งปล่อยมลพิษ ทางน้ำ อากาศ เช่นทางอากาศแมลงอาจโดนพิษตกลงมายอดยางเราได้ เป็นต้น.
4. ที่ลุ่ม ที่ดินนา ที่ดินมีน้ำท่วมขัง เพราะมักจะเป็นดินเหนียวระบายน้ำยา ต้นยางพาราไม่ชอบ.
ดังนั้นที่ดินที่เหมาะสม อาจจะเป็นที่ดินเคยเป็นป่ามาก่้อน เช่น ส.ป.ก. (Sor.Por.Kor. Areas)
ที่ดินบนเขา เนิน และต้องเป็นดินซุย และมีความชันไม่เกิน 20 องศา(ถ้าหากสูงกว่านี้ทำให้การกรีดยางไม่สะดวก) และไม่มีน้ำท่วม ดินระบายได้ดี กลางคืนอากาศเย็น น้ำยางไหลดี ผลผลิตจึงสูง แต่อย่าให้มีชัดหินดินดานเพราะขวางการหาอาหาร ทำ้ให้การเจริญเติบโตหยุดชะงัก.
ที่ดินที่เหมาะสมดังกล่าวอาจจะมีแหล่งน้ำ หากช่่วงไหนฝนทิ้งช่วงนานๆ หรือ ปีไหนฝนมาช้า ยางไม่ให้ผลผลิตจะได้ให้น้ำทดแทนน้ำฝนได้ ซึ่งเราอาจมองหาแผนสำรองเผื่อเบื่อปลูกสวนยางพารายังสามารถปลูกพืชผลไม้ได้ เพราะน้ำเป็นหัวใจในการเกษตรค่ะ.
ที่มา : http://www.yangpara.com
Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
ข่าววันนี้ : เครื่องรีดยาง , เครื่องรีดยางพารา
พืชแซมยาง คือ พืชที่ปลูกในระหว่างแถวยางในขณะที่ต้นยางมีอายุไม่เกิน 3 ปีสามารถปลูกพืชไร่หรือพืชสวนบางชนิดได้ เพื่อเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร พืชส่วนมากที่แนะนำให้ปลูกต้องเป็นพืชที่มีอายุสั้น เช่น ข้าวโพด-ข้าวฟ่าง
ข้าวไร่ กล้วย สับปะรด มันสำปะหลัง และ ถั่วลิสง-ถั่วเขียว เป็นต้น
ประโยชน์ของพืชแซมยาง
1. ใช้บริโภคหรือเป็นการเพิ่มรายได้จากการขายผลผลิต
2. ต้นยางเจริญเติบโตได้ดีกว่าปล่อยให้พื้นที่ระหว่างแถวยางว่าง
3. ควบคุมการเจริญเติบโตของวัชพืช
ข้อควรปฏิบัติในการปลูกพืชแซมยาง
1. พืชที่ปลูกต้องเป็นพืชล้มลุก เช่น ข้าว ข้าวโพด สับปะรดพืชตระกูลถั่ว พืชผักต่างๆ
2. ต้องใส่ปุ๋ยให้พืชแซมยาง ซึ่งจะทำให้การเจริญเติบโตดีให้ผลผลิตสูง และเป็นการป้องกันการแย่งปุ๋ยจากต้นยาง
3. การปลูกพืชแซมยางจะต้องให้ห่างจากแถวยางไม่น้อยกว่าข้างละ 1 เมตร ทั้งนี้ เพื่อป้องกันไม่ให้พืชแซมยางบังร่มเงา และแย่งปุ๋ยจากต้นยางขณะที่ต้นยางยังเล็กอยู่
4. ควรปลูกพืชแซมยางหมุนเวียนโดยสลบกับพืชตระกูลถั่ว เนื่องจากพืชตระกูลถั่วสามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศมาไว้ในดิน ส่วนเศษซากของพืชตระกูลถั่วที่ร่วงหล่นหรือทิ้งไว้หลังจากเก็บเกี่ยวแล้วจะ เป็นประโยชน์ต่อพืชแซมยางที่จะปลูกต่อไป และเป็นประโยชน์ต่อต้นยางด้วย
5. ให้หยุดปลูกพืชแซมยางเมื่อต้นยางอายุเกิน 3 ปีไปแล้ว ทั้งนี้เพราะการเตรียมดินอาจเป็นอันตรายต่อรากยาง และผลผลิตของพืชแซมยางจะต่ำลง เนื่องจากร่มเงาของต้นยาง
พืชที่แนะนำให้ปลูกเป็นพืชแซมยาง
พืชที่แนะนำให้ปลูกเป็นพืชแซมยางมีอยู่หลายชนิด และที่ไม่ให้ปลูกก็มี จึงขอกล่าวเพียงบางชนิดเพื่อเป็นแนวทางในการพิจารณาเลือกปลูก.
ที่มา : http://www.yangpara.com
Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
(ที่มา: สำนักตลาดกลางยางพาราหนองคาย , เครื่องรีดยาง )
ยางแผ่นดิบคุณภาพดี
1. มีความสะอาดและปราศจากฟองอากาศตลอดแผ่น
2. มีความหนาของแผ่นยางไม่เกิน 3 มิลลิเมตร
3. มีความชื้นในแผ่นยางไม่เกิน 3%
4. เนื้อยางแห้งใส มีสีสม่ำเสมอตลอดทั้งแผ่น
5. มีความยืดหยุ่นดี และมีลายดอกเห็นเด่นชัดตลอดทั้งแผ่น
6. มีน้ำหนักเฉลี่ยต่อแผ่น 800-1,200 กรัม
7. แผ่นยางเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง 38-46 เซนติเมตร
และมีความ ยาว 80-90 เซนติเมตร
ยางแผ่นดิบคุณภาพดี ความชื้น 3-5%
1. มีความสะอาด และมีฟองอากาศอยู่ในแผ่นยางได้บ้างเล็กน้อย
2. มีความหนาของแผ่นยางไม่เกิน 4 มิลลิเมตร
3. มีความชื้นในแผ่นยางไม่เกิน 5%
4. เนื้อยางแห้ง มีสีสม่ำเสมอตลอดทั้งแผ่น หรืออาจมีสีคล้ำค่อนข้างทึบไม่โปร่งใสเท่าที่ควร
5. มีความยึดหยุ่นดีและมีลายดอกเห็นเด่นชัด
6. มีน้ำหนักเฉลี่ยต่อแผ่น 1,000-1,500 กรัม
7. แผ่นยางเป็นรูปสี่เหลียมผืนผ้า ขนาดกว้าง 38-46 เซนติเมตร และความยาว 80-90 เซนติเมตร
หรือรูปทรงของแผ่นยางเหมาะสำหรับการนำไปรมควัน
ยางแผ่นดิบ ความชื้น 5-7%
1. แผ่นยางสะอาด หรือมีสิ่งสกปรก และฟองอากาศเล็กน้อย
2. ความชื้นในแผ่นยางไม่เกิน 7%
3. มีความยืดหยุ่นดี และลายดอกเด่นชัด
4. มีสีคล้ำ หรือด่างดำค่อนข้างทึบ ไม่โปร่งใส
5. มีราสนิม ราดำ ปนเปื้อนในแผ่นยางได้บ้างเล็กน้อย
6. แผ่นยางเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง 38-46 เซนติเมตร และความยาว 80-90 เซนติเมตร
ยางแผ่นดิบ ความชื้น 7-10%
1. แผ่นยางสะอาด หรือมีสิ่งสกปรก และฟองอากาศเล็กน้อย
2. ความชื้นในแผ่นยางไม่เกิน 10%
3. มีความยืดหยุ่น และลายดอกชัดเจน
4. มีสีคล้ำ หรือด่างดำค่อนข้างทึบ ไม่โปร่งใส
5. มีราสนิม ราดำปนเปื้อนในแผ่นยางเล็กน้อย
6. แผ่นยางเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง 38-46 เซนติเมตร และมีความยาว80-90 เซนติเมตร
ลักษณะยางแผ่นดิบที่คุณภาพต่ำกว่ามาตรฐาน
ไม่รับเข้าตลาดกลางยางพารา
1. สิ่งสกปรกและฟองอากาศในแผ่นยางมากตลอดทั้งแผ่น
2. เสียความยืดหยุ่น เนื้อยางเปื่อยง่าย หรือมีรูพรุน
3. เนื้อยางแห้งไม่สม่ำเสมอ มีความชื้นในแผ่นยางมากเกิน 3 %(ยางคุณภาพคละ)
เนื้อยางแห้งไม่สม่ำเสมอ มีความชื้นในแผ่นยางมากเกิน 5 %(ยางแผ่นดิบชื้น3-5 %)
4. แผ่นยางมีความหนาหรือบางมากเกินไป
5. แผ่นยางเหนียวเยิ้ม มีกลิ่นเหม็น สีคล้ำ หรือด่างดำตลอดทั้งแผ่น
6. มีราสนิม ราดำปนเปื้อนในแผ่นยางมาก หรือมีราหนาแน่นเห็นได้ชัด
7. รูปแผ่นไม่ได้ขนาดมาตรฐาน ลักษณะแผ่นยางเล็ก หรือใหญ่มากจนเกินไป
หรือเป็นเศษเสี้ยวของแผ่นยาง
Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
เจ้าหน้าที่ด่านตรวจพืชในเขตภาคใต้ ได้ตรวจและยึดพันธุ์ยางที่ลักลอบนำเข้าจากประเทศมาเลเซีย
ซึ่งนำเข้ามาเป็นต้นตอตายาง
ได้เก็บตัวอย่างไว้จำนวน 10 ต้น แล้วนำมาเพาะเป็นยางชำถุง เพื่อตรวจสอบ
นักวิชาการของสถาบันวิจัยยางได้ตรวจสอบ จำนวน 7 ต้น (อีก 3 ต้น ตาย ไม่แตกตา เป็นยางชำถุง)
เพื่อตรวจสอบว่ามีโอกาสเป็นยางพันธุ์ RRIM 3001, PB 350 หรือ RRIM 2025 หรือไม่อย่างไร
ผลปรากฎว่า
มีจำนวน 1 ต้น ที่มีโอกาสเป็นยางพันธุ์ RRIM 3001
และมีจำนวน 2 ต้น ที่มีโอกาสเป็นยางพันธุ์ PB 350
ที่ใช้คำพูดว่า มีโอกาสนั้น หมายถึงว่า ขณะนี้เรามีข้อมูลว่า ยางทั้ง 3 พันธุ์นี้ มีพ่อและแม่ เป็นพันธุ์อะไรบ้าง
เราตรวจสอบและยืนยันได้ว่า เป็นลูกที่เกิดจากพ่อแม่เดียวกันหรือไม่เท่านั้น
เช่น คำว่า มีโอกาสเป็นยางพันธุ์ RRIM 3001 หมายถึง อาจจะเป็นพันธุ์ RRIM 3001 เอง หรือเป็นพี่น้อง (พ่อแม่เดียวกัน) กับพันธุ์ RRIM 3001 ก็ได้
ที่เหลืออีก 4 ต้น ไม่เป็น ยางพันธุ์ RRIM 3001, PB 350 หรือ RRIM 2025 แน่ๆ และไม่ทราบว่าเป็นพันธุ์อะไร
จึงปรากาศข้อมูลนี้มาให้ทราบโดยทั่วกัน
ที่มา : http://www.rubberthai.com/board/index.php?topic=1991.0
Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
ยางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของไทย โดยในปี 2554 มีมูลค่าการส่งออกเกือบ 4 แสนล้านบาท เป็นอันดับ 1 ของสินค้าเกษตร และเป็นอันดับ 3 ของสินค้าส่งออกของไทย ปัจจุบัน ยางพาราได้ขยายพื้นที่ปลูกไปทั่วประเทศ โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ
อย่างไรก็ตาม ตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ปี 2554 ราคายางพาราได้ลดลงอย่างต่อเนื่อง จากกิโลกรัมละ 180 บาท มาอยู่ที่กิโลกรัมละ 90 บาทในช่วงสิ้นปี ทาให้ในช่วงต้นปี 2555 เกษตรกรชาวสวนยางออกมาเรียกร้องให้รัฐบาลออกมาตรการเพื่อรักษาเสถียรภาพราคายาง และเมื่อวันที่ 24 มกราคม 2555 รัฐบาลได้ประกาศมาตรการช่วยเหลือออกมา แต่ประเด็นคำถามที่ยังคงมีอยู่คือ ราคายางพาราต่ำจริงหรือไม่ และมาตรการดังกล่าวจะมีผลต่อตลาดยางพาราอย่างไร
เป็นที่ทราบกันดีว่า ปัจจัยพื้นฐานที่กำหนดราคายางพาราคือ ความต้องการใช้ (อุปสงค์) และปริมาณผลผลิต (อุปทาน) โดยปริมาณการใช้ยางของโลกจะขึ้นกับภาวะเศรษฐกิจโลกเป็นสำคัญ โดยปัญหาเศรษฐกิจของสหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา ส่งผลให้ปริมาณการใช้ยางในปี 2554 เพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 1.4 ขณะที่ปริมาณผลผลิตยางของโลกเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 5.5 ตามการขยายพื้นที่ปลูกในแหล่งผลิตที่สำคัญ สำหรับปัจจัยอื่นๆ ที่กระทบต่อราคายางพารา ได้แก่ (1) การซื้อขายยางในตลาดล่วงหน้าโตเกียว (TOCOM) เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อราคายางในตลาดจริง รวมทั้งราคาซื้อขายในประเทศไทย (2) ราคาน้ำมัน เนื่องจากเป็นวัตถุดิบในการผลิตยางสังเคราะห์ ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 57 ของการบริโภคยางของโลก และสามารถใช้ทดแทนยางพาราได้ จากข้อมูลในอดีต ราคายางพารากับราคาน้ำมันจะเคลื่อนไหวไปด้วยกัน ยกเว้นในปี 2553 และ 2554 ที่ราคายางพารามีความผันผวนสูงกว่าราคาน้ำมันมาก เนื่องจากสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวน และการเกิดภัยพิบัติสึนามิที่ประเทศญี่ปุ่น (3) ปัจจัยอื่นๆ เช่น น้าท่วมใหญ่ในประเทศไทยส่งผลให้เกิดการสะดุดของห่วงโซ่การผลิตโลก กระทบต่อความต้องการใช้ยางโลก เป็นต้น
แม้ว่าช่วงที่ผ่านมา ราคายางจะปรับตัวลดลง แต่ยังนับว่าอยู่สูงกว่าต้นทุนการผลิต สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรแสดงต้นทุนการผลิตยางในปี 2554 อยู่ที่กิโลกรัมละ 46.57 บาท และราคายางที่ลดลงยังสูงกว่าราคาเฉลี่ยในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (2545-2554) ที่ราคาเฉลี่ยอยู่ที่กิโลกรัมละ 69.35 บาท ราคายางที่ปรับลดจึงไม่ได้ต่างจริง แต่ราคายางที่ลดลงอย่างรวดเร็วในเดือนพฤศจิกายน และธันวาคม 2554 ได้สร้างความกังวลให้แก่เกษตรกรชาวสวนยาง เนื่องจากในช่วงที่ผ่านมา ราคายางอยู่เหนือระดับ 100 บาทต่อกิโลกรัม ประกอบกับค่าครองชีพได้ปรับตัวสูงขึ้น และรัฐบาลได้ออกนโยบายที่อาจจะส่งผลให้เงินเฟ้อเพิ่มขึ้น เช่น การเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำวันละ 300 บาท การลอยตัวราคาพลังงาน เป็นต้น รวมทั้งเกษตรกรชาวสวนยางส่วนหนึ่งได้ก่อหนี้เพิ่มขึ้นจากเงินที่คาดว่าจะได้รับในช่วงที่ยางราคาดี สะท้อนอยู่ในข้อมูลของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ซึ่งพบว่า ครัวเรือนภาคใต้มีหนี้สูงขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาความผันผวนของราคายางพารา รัฐบาลได้ออกมาตรการเพื่อรักษาเสถียรภาพราคายางพารา โดยมีเป้าหมายอยู่ที่ 120 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งเป็นระดับราคาที่เหมาะสม และยั่งยืน วิธีการคือ ให้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สนับสนุนสินเชื่ออัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0 วงเงินรวม 15,000 ล้านบาท โดยจัดสรรให้สถาบันเกษตรกร 5,000 ล้านบาท องค์การสวนยาง 10,000 ล้านบาท เพื่อใช้ในการรับซื้อยางพาราไปแปรรูป และรอขายในราคาที่เหมาะสมซึ่งช่วยลดผลผลิตยางพาราออกสู่ตลาดในช่วงที่ราคาตกต่ำ โครงการนี้ มีระยะเวลา 1 ปี 3 เดือน (มกราคม 2555-มีนาคม 2556) มาตรการดังกล่าวได้ส่งผลทางจิตวิทยาทาให้ราคายางขยับตัวสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 90 บาท เมื่อต้นปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 110 บาท ในเดือนกุมภาพันธ์ 2555 ประกอบกับราคาน้ามันยังอยู่ในระดับสูง
อย่างไรก็ตาม มาตรการเพื่อรักษาเสถียรภาพราคายางพาราของรัฐบาล คาดว่าจะได้ผลทางด้านจิตวิทยาในระยะสั้นเท่านั้น โดยราคายางได้ปรับจากกิโลกรัมละ 90 บาท เป็น 110 บาท ส่วนในระยะยาวจากการคาดการณ์ของ IRSG ผลผลิตยางพาราในอีก 5 ปีข้างหน้า จะมีอัตราเพิ่มเฉลี่ยร้อยละ 4.96 ขณะที่ความต้องการใช้ยางพาราโลกเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.94 ทำให้ ณ สิ้นปี 2559 จะมีผลผลิตยางจานวน 13,970 พันตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2555 (ผลผลิต 11,322 พันตัน) จานวน 2,648 พันตัน ส่วนความต้องการใช้มีจำนวน 13,880 พันตัน เพิ่มขึ้นจาก ปี 2555 (ความต้องการใช้ 11,291 พันตัน) จำนวน 2,589 พันตัน อนาคตยางพาราจึงไม่น่าเป็นห่วง อาจจะผันผวนในระยะสั้น แต่ในระยะยาว ปริมาณผลผลิต และความต้องการใช้ยางพาราจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ส่วนปัจจัยท้าทายอื่นๆ เช่น การใช้ยางสังเคราะห์ทดแทนก็มีข้อจากัดทางเทคนิค การขยายพื้นที่ปลูกในประเทศจีนก็ถูกจำกัดด้วยพื้นที่ที่ต้องมีภูมิอากาศที่เหมาะสม นอกจากนี้ การลงทุนตลาดสินค้าโภคภัณฑ์ และราคาน้ำมัน ซึ่งยังคงเป็นปัจจัยบวกต่อราคายาง ดังนั้น เพื่อเพิ่มมูลค่าของสินค้ายางพารา ในระยะยาวทั้งภาครัฐและเอกชนจะต้องกระตุ้นการบริโภคยางภายในประเทศ เร่งหาตลาดส่งออกใหม่ๆ ที่มีศักยภาพ และที่สำคัญ ต้องสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยางภายในประเทศเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มแทนที่จะส่งออกในรูปวัตถุดิบเหมือนในอดีตที่ผ่านมา
เป็นที่ทราบกันดีว่า ปัจจัยพื้นฐานที่กำหนดราคายางพาราคือ ความต้องการใช้ (อุปสงค์) และปริมาณผลผลิต (อุปทาน) โดยปริมาณการใช้ยางของโลกจะขึ้นกับภาวะเศรษฐกิจโลกเป็นสำคัญ โดยปัญหาเศรษฐกิจของสหภาพยุโรป และสหรัฐอเมริกา ส่งผลให้ปริมาณการใช้ยางในปี 2554 เพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 1.4 ขณะที่ปริมาณผลผลิตยางของโลกเพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 5.5 ตามการขยายพื้นที่ปลูกในแหล่งผลิตที่สำคัญ สำหรับปัจจัยอื่นๆ ที่กระทบต่อราคายางพารา ได้แก่ (1) การซื้อขายยางในตลาดล่วงหน้าโตเกียว (TOCOM) เป็นปัจจัยหนึ่งที่มีอิทธิพลต่อราคายางในตลาดจริง รวมทั้งราคาซื้อขายในประเทศไทย (2) ราคาน้ำมัน เนื่องจากเป็นวัตถุดิบในการผลิตยางสังเคราะห์ ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 57 ของการบริโภคยางของโลก และสามารถใช้ทดแทนยางพาราได้ จากข้อมูลในอดีต ราคายางพารากับราคาน้ำมันจะเคลื่อนไหวไปด้วยกัน ยกเว้นในปี 2553 และ 2554 ที่ราคายางพารามีความผันผวนสูงกว่าราคาน้ำมันมาก เนื่องจากสภาพภูมิอากาศที่แปรปรวน และการเกิดภัยพิบัติสึนามิที่ประเทศญี่ปุ่น (3) ปัจจัยอื่นๆ เช่น น้าท่วมใหญ่ในประเทศไทยส่งผลให้เกิดการสะดุดของห่วงโซ่การผลิตโลก กระทบต่อความต้องการใช้ยางโลก เป็นต้น
แม้ว่าช่วงที่ผ่านมา ราคายางจะปรับตัวลดลง แต่ยังนับว่าอยู่สูงกว่าต้นทุนการผลิต สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรแสดงต้นทุนการผลิตยางในปี 2554 อยู่ที่กิโลกรัมละ 46.57 บาท และราคายางที่ลดลงยังสูงกว่าราคาเฉลี่ยในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (2545-2554) ที่ราคาเฉลี่ยอยู่ที่กิโลกรัมละ 69.35 บาท ราคายางที่ปรับลดจึงไม่ได้ต่างจริง แต่ราคายางที่ลดลงอย่างรวดเร็วในเดือนพฤศจิกายน และธันวาคม 2554 ได้สร้างความกังวลให้แก่เกษตรกรชาวสวนยาง เนื่องจากในช่วงที่ผ่านมา ราคายางอยู่เหนือระดับ 100 บาทต่อกิโลกรัม ประกอบกับค่าครองชีพได้ปรับตัวสูงขึ้น และรัฐบาลได้ออกนโยบายที่อาจจะส่งผลให้เงินเฟ้อเพิ่มขึ้น เช่น การเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำวันละ 300 บาท การลอยตัวราคาพลังงาน เป็นต้น รวมทั้งเกษตรกรชาวสวนยางส่วนหนึ่งได้ก่อหนี้เพิ่มขึ้นจากเงินที่คาดว่าจะได้รับในช่วงที่ยางราคาดี สะท้อนอยู่ในข้อมูลของสำนักงานสถิติแห่งชาติ ซึ่งพบว่า ครัวเรือนภาคใต้มีหนี้สูงขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาความผันผวนของราคายางพารา รัฐบาลได้ออกมาตรการเพื่อรักษาเสถียรภาพราคายางพารา โดยมีเป้าหมายอยู่ที่ 120 บาทต่อกิโลกรัม ซึ่งเป็นระดับราคาที่เหมาะสม และยั่งยืน วิธีการคือ ให้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สนับสนุนสินเชื่ออัตราดอกเบี้ยร้อยละ 0 วงเงินรวม 15,000 ล้านบาท โดยจัดสรรให้สถาบันเกษตรกร 5,000 ล้านบาท องค์การสวนยาง 10,000 ล้านบาท เพื่อใช้ในการรับซื้อยางพาราไปแปรรูป และรอขายในราคาที่เหมาะสมซึ่งช่วยลดผลผลิตยางพาราออกสู่ตลาดในช่วงที่ราคาตกต่ำ โครงการนี้ มีระยะเวลา 1 ปี 3 เดือน (มกราคม 2555-มีนาคม 2556) มาตรการดังกล่าวได้ส่งผลทางจิตวิทยาทาให้ราคายางขยับตัวสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 90 บาท เมื่อต้นปี 2555 เป็นกิโลกรัมละ 110 บาท ในเดือนกุมภาพันธ์ 2555 ประกอบกับราคาน้ามันยังอยู่ในระดับสูง
อย่างไรก็ตาม มาตรการเพื่อรักษาเสถียรภาพราคายางพาราของรัฐบาล คาดว่าจะได้ผลทางด้านจิตวิทยาในระยะสั้นเท่านั้น โดยราคายางได้ปรับจากกิโลกรัมละ 90 บาท เป็น 110 บาท ส่วนในระยะยาวจากการคาดการณ์ของ IRSG ผลผลิตยางพาราในอีก 5 ปีข้างหน้า จะมีอัตราเพิ่มเฉลี่ยร้อยละ 4.96 ขณะที่ความต้องการใช้ยางพาราโลกเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.94 ทำให้ ณ สิ้นปี 2559 จะมีผลผลิตยางจานวน 13,970 พันตัน เพิ่มขึ้นจากปี 2555 (ผลผลิต 11,322 พันตัน) จานวน 2,648 พันตัน ส่วนความต้องการใช้มีจำนวน 13,880 พันตัน เพิ่มขึ้นจาก ปี 2555 (ความต้องการใช้ 11,291 พันตัน) จำนวน 2,589 พันตัน อนาคตยางพาราจึงไม่น่าเป็นห่วง อาจจะผันผวนในระยะสั้น แต่ในระยะยาว ปริมาณผลผลิต และความต้องการใช้ยางพาราจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ส่วนปัจจัยท้าทายอื่นๆ เช่น การใช้ยางสังเคราะห์ทดแทนก็มีข้อจากัดทางเทคนิค การขยายพื้นที่ปลูกในประเทศจีนก็ถูกจำกัดด้วยพื้นที่ที่ต้องมีภูมิอากาศที่เหมาะสม นอกจากนี้ การลงทุนตลาดสินค้าโภคภัณฑ์ และราคาน้ำมัน ซึ่งยังคงเป็นปัจจัยบวกต่อราคายาง ดังนั้น เพื่อเพิ่มมูลค่าของสินค้ายางพารา ในระยะยาวทั้งภาครัฐและเอกชนจะต้องกระตุ้นการบริโภคยางภายในประเทศ เร่งหาตลาดส่งออกใหม่ๆ ที่มีศักยภาพ และที่สำคัญ ต้องสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ยางภายในประเทศเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มแทนที่จะส่งออกในรูปวัตถุดิบเหมือนในอดีตที่ผ่านมา
Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
ราคา เครื่องรีดยาง และ ตลาดกลางยางพาราสงขลาปรับตัวลดลง ยางแผ่นดิบแตะระดับ 89.01 บาท/กก. ปรับตัวลดลง 0.20 บาท/กก. และยางแผ่นรมควันแตะระดับ 91.61 บาท/กก. ปรับตัวลดลง 0.30 บาท/กก. เนื่องจากราคาชี้นำตลาดล่วงหน้าโตเกียวหยุดทำการ ทำให้นักลงทุนเทขายทำกำไรตั้งแต่วันศุกร์ที่ผ่านมา หลังจากที่ราคาปรับตัวสูงสุดในรอบ 9 เดือน ประกอบกับความกังวลเกี่ยวกับอัตราเงินเฟ้อของจีนเดือนธันวาคมที่ปรับตัวสูงขึ้นเกินคาด อาจสกัดไม่ให้รัฐบาลจีนดำเนินมาตรการกระตุ้นทางการเงินเพิ่มเติม อย่างไรก็ตาม ในภาพรวมทิศทางราคายางยังมีแนวโน้มที่ดี เพราะยังมีปัจจัยสนับสนุนจากจีนอาจเร่งซื้อยางในช่วงก่อนหยุดยาวเทศกาลตรุษจีน และภาคใต้ของไทยใกล้ถึงช่วงฤดูยางผลัดใบ อีกทั้งกรณีที่รัฐบาลญี่ปุ่นลงนามมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยมีเป้าหมายให้เศรษฐกิจฟื้นตัวโดยการสกัดการแข็งค่าของเงินเยนและภาวะเงินฝืดที่เรื้อรัง
Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
บริษัท เอเซียเกียร์ริ่ง จำกัด ผลิตและจำหน่าย เครื่องรีดยาง
เครื่องรีดยางพารา เครื่องรีดยางเครป จักรรีดยาง
ตัวอย่างลูกค้านำยางเครปมาทดสอบเครื่อง
Browse
Home
» Archives for มกราคม 2013
บริษัท เอเซียเกียร์ริ่ง จำกัด รับสร้าง
รับผลิตเครื่องจักรสำหรับผลิตยางพารา รับสร้างเครื่องจักรสับยาง,
เครื่องรีดยาง
ออกแบบเครื่องสับยาง, เครื่องรีดยางพารา, รับสร้างลูกกลิ้งลาย
ของเครื่องรีดยาง มีลายมาตรฐาน หรือแบบลายที่ต้องการ
รับผลิตยางพารา
สนใจติดต่อ
088-202-0410 , 090-419-1965 , 038-942-501
สินค้าและบริการ
- เครื่องสับยาง - รับผลิตเครื่องรีดยาง - รับผลิตเครื่องสับยาง
- รับก็อปปี้เครื่องรีดยาง - รับสร้างลายลูกกลิ้ง
รายละเอียดของเครื่องสับยาง
- สับยางก้อนให้เป็นยางแผ่น
- รีดให้เป็นยางแผ่น
- กำลังผลิต 5-10ตัน/วัน
- เดินเครื่องได้ 24 ชั่วโมง
- ราคา 190,000 บาท (ไม่รวมเกียร์)
- ราคา 290,000 บาท (รวมเกียร์)
- ความโต 12 นิ้ว
รายละเอียดเครื่องรีดยาง จักรรีดยาง
- 2-4ตัน/วัน แล้วแต่ความชำนาญ
- รีดได้หนา 10 มม.
- เดินเครื่องได้ 24 ชั่วโมง
- ราคา ติดต่อสอบถาม
ตัวอย่าง เครื่องรีดยาง เครื่องสับยาง |
ตัวอย่าง เครื่องรีดยาง เครื่องสับยาง |
ตัวอย่าง เครื่องรีดยาง เครื่องสับยาง |
ตัวอย่าง เครื่องรีดยาง เครื่องสับยาง |
ตัวอย่าง เครื่องรีดยาง เครื่องสับยาง |
ตัวอย่าง เครื่องรีดยาง เครื่องสับยาง |
ตัวอย่าง เครื่องรีดยาง ของบริษัท เอเซียเกียร์ริ่ง จำกัด |
ตัวอย่าง เครื่องรีดยาง ของบริษัท เอเซียเกียร์ริ่ง จำกัด |
ตัวอย่าง เครื่องรีดยาง ของบริษัท เอเซียเกียร์ริ่ง จำกัด |
ตัวอย่าง เครื่องสับยาง ของบริษัท เอเซียเกียร์ริ่ง จำกัด |
ตัวอย่าง เครื่องสับยาง ของบริษัท เอเซียเกียร์ริ่ง จำกัด |
ตัวอย่าง ลายลูกกลิ้ง ของบริษัท เอเซียเกียร์ริ่ง จำกัด |
บริษัท เอเซียเกียร์ริ่ง จำกัด รับสร้าง เครื่องรีดยางพารา รับผลิตเครื่องจักรสำหรับผลิตยางพารา
รับสร้างเครื่องจักรสับยาง เครื่องรีดยาง ออกแบบเครื่องสับยาง, เครื่องรีดยาง,
รับสร้างลูกกลิ้งลาย ของเครื่องรีดยาง มีลายมาตรฐาน หรือแบบลายที่ต้องการ, รับผลิตยางพารา มีเครื่องทำยางแผ่น เครื่องรีดยางแผ่น ยางเครป ยางเครพ ยางเครฟ จำหน่าย
รับสร้างเครื่องจักรสับยาง เครื่องรีดยาง ออกแบบเครื่องสับยาง, เครื่องรีดยาง,
รับสร้างลูกกลิ้งลาย ของเครื่องรีดยาง มีลายมาตรฐาน หรือแบบลายที่ต้องการ, รับผลิตยางพารา มีเครื่องทำยางแผ่น เครื่องรีดยางแผ่น ยางเครป ยางเครพ ยางเครฟ จำหน่าย